วีธีการดูพระบูชา ขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ครับ
1: เริ่มจากการดูดินใต้ฐาน ดินใต้ฐานพระบูชานั้น ขึ้นอยู่กับยุคสมัยด้วยครับ เช่น พระยุครัตนะ หรือ พระรัชกาล จะเป็นดินปนทราย หรือบางท่านจะเรีกว่าดินไทย แต่พระบูชาตั้งแต่ยุคอยุธยาขึ้น ไป จะเป็นดินปนแกลบ นักเล่นรุ่นเก่า เรียกว่าดินแกลบครับ เริ่มต้นด้วยดูดินให้ตรงยุคตรงส มัย เมื่อดูแล้วเรียบร้อยดี ขั้นต่อไป
2: ดูงานศิลป์ ตรงนี้ท่านต้องจำไว้เลยว่า พระบูชาในสมัยก่อนสร้างทีละองค์ หมายความว่า ขึ้นหุ่นปั้นที่ละองค์ด้วยเทียน ขี้ผี้ง เพราะฉนั้น สำคัญนะครับ
2.1 พระแต่ละองค์จะต้องไม่เหมือนกัน แค่คล้ายๆกันได้ แต่จะไม่เหมือนกันเป๊ะ แบบนี้ไม่ได้ครับ ถ้าสององค์เหมือนกัน จะต้องมีองค์ใดองค์หนึ่งเก๊ หรือเก๊ทั้งคู่เลยครับ
2.2 พระจะต้องไม่มีตะเข็บข้าง เพราะวิวัฒนาการในสมัยนั้นยังไป ไม่ถึงครับ กรรมวิธีแบบนี้ ช่างสมัยก่อนยังคิดไม่ออก ยังทำไม่ได้ครับ ใหสังเกตุจากด้านข้างองค์พระครั บ โดนเฉพาะช่วงเม็ดพระศกนั้น ของเก๊มักจะมีรอยตะเข็บหลุดมาให ้เห็นครับ
2.3 ให้สังเกตุนิ้วมือครับ นิ้วมือจะเรียบร้อยสวยงาม ไม่หงิกๆด้วนๆครับ
3. ให้ดูร่องเม็ดพระศกครับ ถ้าเป็นพระสมัย (ตั้งแต่อธุยาขึ้นไป) จะใช้วิธีปั้นทีละเม็ดแล้วนำไปต ิด (ตอนเป็นหุ่นเทียน) จะไม่ตัดมาเป็นเส้นยาวแล้วนำมาแ ปะครับ กรรมวิธีแบบนี้จะมีแต่พระยุครัต นะ กับพระบูชารัชกาลเท่านั้นครับ
4: ให้ดูขอบด้านใต้ฐานอีกครับ ส่วนใหญ่ พระจะเป็นสองขอบ (ส่วนใหญ่นะครั)แบบที่ผมเคยบอกท ่านแล้วในคราวสอนวิธีดู พระบูชายุครัตนะ ลองย้อนกลับไปอ่านครับ
5: เนื้อหาสาระ ของพระสมัยส่วนใหญ่จะต้องเป็นโล หะผสมครับ เพราะในสมัยก่อนจะไม่แยกโลหะก่อ นเทพระ เพราะสมัยก่อนสร้างพระกันด้วยแร งศรัทธา ใครมีโลหะชนิดใดก็นำมารวมๆกันใน เบ้าหลอม
ยังมีรายระเอียดปลีกย่อยอีกเยอะ ผมจะนำเสนอเพียงแค่นี้ก่อน บอกหมดท่านก็จำไม่ได้ครับ มาทำความเข้าใจกับตรงนี้ก่อน ใครมีอะไรไม่เข้าใจ จะถาม เชิญครับ
1: เริ่มจากการดูดินใต้ฐาน ดินใต้ฐานพระบูชานั้น ขึ้นอยู่กับยุคสมัยด้วยครับ เช่น พระยุครัตนะ หรือ พระรัชกาล จะเป็นดินปนทราย หรือบางท่านจะเรีกว่าดินไทย แต่พระบูชาตั้งแต่ยุคอยุธยาขึ้น
2: ดูงานศิลป์ ตรงนี้ท่านต้องจำไว้เลยว่า พระบูชาในสมัยก่อนสร้างทีละองค์ หมายความว่า ขึ้นหุ่นปั้นที่ละองค์ด้วยเทียน
2.1 พระแต่ละองค์จะต้องไม่เหมือนกัน
2.2 พระจะต้องไม่มีตะเข็บข้าง เพราะวิวัฒนาการในสมัยนั้นยังไป
2.3 ให้สังเกตุนิ้วมือครับ นิ้วมือจะเรียบร้อยสวยงาม ไม่หงิกๆด้วนๆครับ
3. ให้ดูร่องเม็ดพระศกครับ ถ้าเป็นพระสมัย (ตั้งแต่อธุยาขึ้นไป) จะใช้วิธีปั้นทีละเม็ดแล้วนำไปต
4: ให้ดูขอบด้านใต้ฐานอีกครับ ส่วนใหญ่ พระจะเป็นสองขอบ (ส่วนใหญ่นะครั)แบบที่ผมเคยบอกท
5: เนื้อหาสาระ ของพระสมัยส่วนใหญ่จะต้องเป็นโล
ยังมีรายระเอียดปลีกย่อยอีกเยอะ
จาก คุณนักสะสม
https://www.facebook.com/pages/%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1/289146017860457
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น